Contents.
1 Location and boundaries.
2 History.
3 Promoted to the status of royal temple of the class.
4 Education.
5 Sacred object.
6 List of temple abbots.
Location and boundaries.
Located at No. 82 Issara Road, Paknam, Muang Krabi. Krabi 81000 Phone 075-611-252 Fax: 075-620-535, with an area of about 4 square meters 202 acres.
History.
Record created measure coincides with the settlement of about 200 families at the home of the Buddhist Association in 2430 B.E. The house was built by monks residing. To a place of religious activity known as the "Phamnaksong Paknam or monks resident of river mouth" when the priest came to the temple hall and parsonage is increased accordingly. The monks at the temple there. And dubbed. "Wat Kaew Korawararam" at a later time.
Promoted to the status of royal temple of the class.
On March 22, 2543 B.E. Wat Kaew Korawararam was raised as a royal temple of third grade ordinary. On the occasion of the King's birthday anniversary commemorating the Sixth Cycle (72nd).
Education.
Wat Kaew Korawararam. A center of Buddhism. Important both as a center of Buddhism. The Buddhist scripture education center - Bali and the Department of General Buddhist scripture of monks clergy in Krabi province. Began teaching theologian - Bali. Since the year 2455 B.E., before being extended to other areas of the district in the year 2500 B.E.
Sacred object.
Shaped cast bronze. Actual size of Phra Dhammawarodhom (Seng Uttamo ) former dean of the Phuket Province.
The same is actual size cast of Phrakhru Dhammawutwisit (Kim Phuttharakkhito) The Ecclesiastical Provincial Governor of Krabi Province and also the first abbot of Wat Kaew Korawararam.
The same is actual size cast of Phra Ratchasuttakai( Singh chanthapho) The Ecclesiastical Provincial Governor of Krabi Province and also the second abbot of Wat Kaew Korawararam.
List of temple abbots.
The 2430-2450 B.E. period this temple was also called Wat paknam (The temple of estuary). The were abbot of the temple and ruled around 6-7 (unidentified), but only 3 were recorded.
Phothan Kaew yonyaw from Songkha province.
Phra Borisutthisilachan(Lop) from Trang province.
Phrakhru Satoonsamansaranamuni (Samuth) from Satoon province.
Later in 2450 B.E. Phra Kaewkorop (Hmi Na Thahlang) has invited Phra Samuth Kim Phuttharakkhito to improve temple and then dubbed. "Wat Kaew Korawararam". Hereafter the abbots list.
Phrakhru Dhammawuthwisit (Kim Phuttharakkhito) 2451-2473 B.E.
Phraratchasuttakawi (Singh chanthapho por thor 6, nor thor aek) 2474-2528 B.E.
Phrasutawutthawisit (Khanchai a-phakaro nor thor aek) 2529-2540 B.E.
Phramahasriwang sirimanoonyo 2541-2543 B.E.
Phrapanyawutthathammakhani (Borisut khantiko nor thor aek, age 74 year-old, became in monk for 54 year ) 2543 - present
Booking : Hotels and air ticket around the world
วัดแก้วโกรวาราม ตั้งอยู่กลางเมืองจังหวัดกระบี่ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรีและเป็นวัดประจำจังหวัด มีความสำคัญทั้งด้านความเป็นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนา ศูนย์กลางการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนก ธรรมะ-บาลี และแผนกปริยัติสามัญ ของคณะสงฆ์จังหวัดกระบี่
เนื้อหา
1 ที่ตั้งและอาณาเขต
2 ประวัติความเป็นมา
3 การยกฐานะเป็นพระอารามหลวง
4 ด้านการศึกษา
5 ปูชนียวัตถุในวัดที่สำคัญ
6 ลำดับเจ้าอาวาส
ที่ตั้งและอาณาเขต
ตั้งอยู่ ณ เลขที่ ๘๒ ถนนอิศรา ตำบลปากน้ำ อำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ 81000 โทรศัพท์ 075-611-252 โทรสาร 075-620-535 มีเนื้อที่ประมาณ ๒๐๒ ไร่ ๔ ตารางวา
ประวัติความเป็นมา
ประวัติการสร้างวัดเกิดขึ้นพร้อมๆกับการตั้งถิ่นฐานของชาวพุทธ ประมาณ 200 ครัวเรือน ณ บ้านปากน้ำ ในปี พ.ศ. 2430 ชาวบ้านได้สร้างพำนักสงฆ์ขึ้น เพื่อเป็นสถานที่ประกอบกิจกรรมทางศาสนา เรียกว่า “พำนักสงฆ์ปากน้ำ” เมื่อมีพระสงฆ์มาจำพรรษามากขึ้น จึงสร้างศาลา และกุฏิเพิ่มขึ้นตามลำดับ ให้พระสงฆ์มีที่จำพรรษา และได้ขนานนามว่า "วัดแก้วโกรวาราม" ในเวลาต่อมา
การยกฐานะเป็นพระอารามหลวง
เมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๔๓ วัดแก้วโกรวารามได้ยกฐานะเป็นพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดสามัญ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระชนม์มายุครบ ๖ รอบ
ด้านการศึกษา
วัดแก้วโกรวาราม เป็นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนา ศูนย์กลางการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนก ธรรมะ-บาลี และแผนกปริยัติสามัญ ของคณะสงฆ์จังหวัดกระบี่ เริ่มมีการเรียนการสอนนักธรรม-บาลี ตั้งแต่พุทธศักราช ๒๔๕๕ ก่อนจะมีการขยายการศึกษาด้านต่างๆไปยังต่างอำเภอ ใน ปี พุทธศักราช ๒๕๐๐
ปูชนียวัตถุในวัดที่สำคัญ
รูปเหมือนหล่อด้วยทองสำริด ขนาดเท่าองค์จริงของพระธรรมวโรดม (เซ่ง อุตฺตโม) อดีตเจ้าคณะมณฑลภูเก็ต
รูปเหมือนเท่าองค์จริงของพระครูธรรมาวุธวิศิษฐ์(กิ่ม พุทธรกฺขิโต) เจ้าคณะจังหวัดกระบี่ เจ้าอาวาสวัดแก้วโกรวาราม รูปที่หนึ่ง
รูปเหมือนเท่าองค์จริงของพระราชสุตกวี(สิงห์ จนฺทาโภ) เจ้าคณะจังหวัดกระบี่ เจ้าอาวาสสวัดแก้วโกรวาราม รูปที่สอง
ลำดับเจ้าอาวาส
พ.ศ. 2430-2450 สมัยที่ยังเรียกชื่อวัดปากน้ำ มีเจ้าอาวาสปกครองวัดรวม 6-7 รูป (ไม่ปรากฏชื่อ) แต่มีการบันทึกไว้เพียง 3 รูป ได้แก่
พ่อท่านแก้ว ยนยาว จากจังหวัดสงขลา
พระบริสุทธิสีลาจารย์(ลภ) จากจังหวัดตรัง
พระครูสตูลสมันสรณมุนี (สมุทร) จากจังหวัดสตูล
ต่อมา ปี 2450 พระแก้วโกรพ (หมี ณ ถลาง) ได้นิมนต์พระสมุทห์กิ่ม พุทฺธรกฺขิโต พร้อมกับบูรณะวัดอย่างจริงจัง แล้วขนามนามวัดใหม่เป็น "วัดแก้วโกรวาราม" และมีเจ้าอาวาสปกครองดังนี้
พระครูธรรมาวุธวิศิษฐ์ (กิ่ม พุทฺธรกฺขิโต) พ.ศ. 2451-2473
พระราชสุตกวี (สิงห์ จนฺทาโภ ป.ธ.6, น.ธ.เอก) พ.ศ. 2474-2528
พระสุตาวุธวิสิฐ (ขรรค์ชัย อาภากโร น.ธ.เอก) พ.ศ. 2529-2540
พระมหาศรีวัง สิริมนูญโญ พ.ศ. 2541-2543
พระปัญญาวุธธรรมคณี (บริสุทธิ์ ขนฺติโก น.ธ.เอก จอว. อายุ 74 พรรษา 54) พ.ศ. 2543- ปัจจุบัน